มาตรฐานน้ำบริโภค
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ำบริโภค
คุณลักษณะ ดัชนีคุณภาพน้ำ หน่วย มาตรฐาน
เกณฑ์กำหนดสูงสุด
(Maximum Acceptable Concentration)
เกณฑ์อนุโลมสูงสุดa
(Maximum Allowable Concentration)
ทางกายภาพ 1.สี (Colour) ปลาตินัม-โคบอลด์
(Platinum-Cobalt)
5 15
2.รส (Taste) - ไม่เป็นที่รังเกียจ ไม่เป็นที่รังเกียจ
3.กลิ่น (Odour) - ไม่เป็นที่รังเกียจ ไม่เป็นที่รังเกียจ
4.ความขุ่น (Turbidity) ซิลิกา สเกล ยูนิต
(Silica scale unit)
5 20
5.ความเป็นกรด-ด่าง(pH) - 6.5-8.5 9.2
ทางเคมี 6.ปริมาณสารทั้งหมด
(Total Solids)
มก./ล. 500 1,500
7.เหล็ก (Fe) มก./ล. 0.5 1.0
8.มังกานีส (Mn) มก./ล. 0.3 0.5
9.เหล็กและมังกานีส (Fe& Mn) มก./ล. 0.5 1.0
10.ทองแดง (cu) มก./ล. 1.0 1.5
11.สังกะสี (Zn) มก./ล. 5.0 15.0
12.คัลเซียม (Ca) มก./ล. 75b 200
13.แมกนีเซียม (Mg) มก./ล. 50 150
14.ซัลเฟต (SO4) มก./ล. 200 250c
15.คลอไรต์ (Cl) มก./ล. 250 600
16.ฟลูออไรด์ (F) มก./ล. 0.7 1.0
17.ไนเตรต (NO3) มก./ล. 45 45
18.อัลคิลเบนซิลซัลโฟเนต
(Alkylbenzyl Sulfonate,ABS)
มก./ล. 0.5 1.0
19.ฟีโนลิกซับสแตนซ์(Phenolic
substances as phenol)
มก./ล. 0.001 0.002
สารเป็นพิษ 20.ปรอท (Hg) มก./ล. 0.001 -
21.ตะกั่ว (Pb) มก./ล. 0.05 -
22.อาร์เซนิก (As) มก./ล. 0.05 -
23.ซิลิเนียม (Se) มก./ล. 0.01 -
24.โครเมียม
(Cr hexavalent)
มก./ล. 0.05 -
25.ไซยาไนด์ (CN) มก./ล. 0.2 -
26.แคดเมียม (Cd) มก./ล. 0.01 -
27.แบเรียม (Ba) มก./ล. 1.0 -
ทางจุลชีววิทยา 28.แสตนดาร์ดเพลตเคานต์(Standard Plate Count) โคโลนีต่อลูบาศก์
เซนติเมตร(Colonies/cm3
500 -
29.เอ็มพีเอ็น (MPN) โคลิฟอร์มออร์แกนิสซัม
ต่อ 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
(Coliform Organism/100 cm3
น้อยกว่า 2.2 -
30.อีโคไล (E.coli)   ไม่มี -

 


หมายเหตุ

:
a

เกณฑ์ที่อนุโลมให้สูงสุดเป็นเกณฑ์ที่อนุญาตให้สำหรับน้ำประปาหรือน้ำบาดาลที่มีความจำเป็นต้องใช้บริโภคเป็นการชั่วคราวและน้ำที่มีคุณลักษณะอยู่ในระหว่างเกณฑ์กำหนดสูงสุด กับเกณฑ์อนุโลมสูงสุดนั้นไม่ไช่น้ำที่ให้เครื่องหมายมาตรฐานได้
b

หากคัลเซียมมีปริมาณสูงกว่าที่กำหนด และมักเนเซียม มีปริมาณต่ำกว่าที่กำหนดในมาตรฐานให้พิจารณาคัลเซียมและมักเนเซียมในเทอมของความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness) ถ้ารวมความกระด้างทั้งหมดเมื่อคำนวณเป็นคัลเซียมคาร์บอเนต มีปริมาณต่ำกว่า 300 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ถือว่าน้ำนั้นเป็นไปตามมาตรฐานการแบ่งระดับความกระด้างของน้ำดังต่อไปนี้

0 ถึง 75 มิลลิกรัมต่อลิตร เรียก น้ำอ่อน
75 ถึง 150 มิลลิกรัมต่อลิตร เรียก น้ำกระด้างปานกลาง
150 ถึง 300 มิลลิกรัมต่อลิตร เรียก น้ำกระด้าง
300     มิลลิกรัมต่อลิตรขึ้นไป เรียก น้ำกระด้างมาก
    c

หากซัลเฟต มีปริมาณถึง 250 มิลลิกรัมต่อลิตร มักเนเซียม ต้องมีปริมาณไม่เกิน 30 มิลลิกรัมต่อลิตร (มิลลิกรัมต่อลิตร = มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร)
แหล่งที่มา : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 332 (พ.ศ. 2521) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่องกำหนมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ำบริโภค ตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 95 ตอนที่ 68 ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2521